เห็ดกูรู เรื่องราวใหม่ ๆ ในวงการดนตรีอิสระ และบทวิเคราะห์ประเด็นต่าง ๆ ที่มีประโยชน์สำหรับคนดนตรี
เวลาดูหนังฝรั่งหลาย ๆ เรื่องที่มีฉากขึ้นลิฟต์ จะมีเพลงเปิดคลอเบา ๆ แบบเดียวกันแทบจะทุกเรื่อง เคยสงสัยมั้ยว่าไอ้เพลงประเภทนี้มันมีชื่อเรียกว่าอะไร บทความนี้มีคำตอบมาให้แล้ว
จากประวัติการทรงดนตรีของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ ที่กล่าวไว้ในหลาย ๆ ที่ มักจะมีการกล่าวถึงแนวดนตรีแจ๊สแนวหน่ึงเสมอ นั่นคือ Dixieland jazz
ทำไมเพลงร็อกสมัยก่อนถึงกลายเป็นสิ่งต้องห้ามของคริสตจักร การเล่นเพลงย้อนกลับถือเป็นการส่งสาส์นจากซาตานสู่มนูษย์จริงหรือ หาคำตอบได้แล้วใน เห็ดกูรู
หนทางการเป็นศิลปินไม่ใช่เรื่องยากแต่ต้องไปให้ถูกวิธี ฉบับนี้ขอทำหน้าที่แนะนำพื้นฐานให้กับหนุ่มสาวที่มีความฝันอยากเป็นศิลปินว่าจากจุดเริ่มต้นในยูทูปสู่การเป็นซุปเปอร์สตาร์มันต้องทำอย่างไรมีวิธีอย่างไรบ้าง ทุกอย่างไม่มีทางลัดแต่เห็ดกูรูช่วยแนะแนวคุณได้
ในโลกสังคมอุดมไปด้วยเรื่องของธุรกิจ รับรู้เรื่องราวความสัมพันธ์ระหว่างแบรนด์สินค้ากับศิลปินที่คุณชอบว่ามีที่มาที่ไปเป็นอย่างไรและทำไมสินค้าถึงต้องการศิลปินมาเป็นพรีเซ็นเตอร์เสนอสินค้าด้วย มารับรู้สาระน่ารู้นี้ไปพร้อม ๆ กันในเห็ดกูรู
สำหรับเห็ดกูรูตอนที่ 2 นี้ ขอนำเสนอพื้นที่ในรูปแบบที่เปิดโอกาสให้ศิลปินนักดนตรีได้แสดงออกถึงเอกลักษณ์ของบทเพลงให้กับผู้ฟังหมู่มาก นั่นก็คือเทศกาลดนตรี ที่เป็นเหมือนสปริงบอร์ดที่จะนำพาพวกเขาไปให้ชาวโลกได้รู้จัก
ในยุคของเหล่าเจ้าพ่อเซี่ยงไฮ้ ดนตรีแจ๊ซถูกตีตราว่าเป็นดนตรีของคนบาป เป็นดนตรีเคล้าเหล้า ยา และนารี จนถูกเรียกว่า "Yellow Music" ที่หมายถึงดนตรีลามกอนาจาร ซึ่งดนตรีแจ๊ซของเซี่ยงไฮ้เป็นการผสมผสานระหว่างดนตรีจีนและแจ๊ซผิวดำอย่างลงตัว จนกลายเป็นแนวใหม่ชื่อว่า "Sinified Jazz" ที่แปลได้ว่า "แจ๊ซที่ถูกทำให้บาป" หากอยากรู้ว่าแจ๊ซแนวนี้เป็นอย่างไร ลองเข้ามาอ่านดูกันเลยครับ
เรียนรู้เรื่องราวของเพลงภาษาต่างประเทศ ที่ไม่ใช่แค่ภาษาอังกฤษ เห็ดกูรูฉบับนี้จะนำเสนอในมุมมองที่น่าสนใจรวมทั้งแนะแนวทางในการ โกอินเตอร์มานำเสนอให้ท่านผู้อ่านได้รับทราบวิธีการโกอินเตอร์อีกด้วย
ในตอนที่ 2 นี้ เราอยากจะวิเคราะห์เจาะลึก ว่าการจัดตั้งสหภาพดนตรีสำหรับประเทศไทยนั้นมีความเป็นไปได้ และจะมีประโยชน์อย่างไรบ้าง
เนื่องจากธีมของฟังใจซีนเดือนนี้ (ธันวาคม 2558) เป็นในเรื่องของประชาธิปไตยทางดนตรี ทำให้ผู้เขียนนึกไปถึงเรื่องการเมืองการปกครอง แล้วก็โยงไอเดียไปถึงเรื่องการปฏิวัติรัฐประหาร แล้วก็พยายามคิดว่าจะเกี่ยวข้องกับดนตรีได้อย่างไรบ้าง (หากท่านได้อ่านคอลัมน์นี้ของผู้เขียนมาบ้าง จะรู้ว่าผู้เขียนพยายามเขียนให้เกี่ยวข้องกับธีมหลักของฟังใจซีนทุกเดือน) แล้วก็เลยนึกถึงการปฏิวัติทางดนตรีว่ามีบ้างไหม มีมุมมองอะไรบ้าง จนมาคิดว่าเราควรปฏิวัติวงการดนตรีกันหรือเปล่าด้วย
เห็ดกูรูอยากจะศึกษาเกี่ยวกับเรื่องการแสดงดนตรีในยุคสมัยก่อนที่ยังไม่มีเครื่องขยายเสียง จึงได้ไปพบข้อมูลเกี่ยวกับโรงละครเอพิดอรัส หรือ Theatre of Epidaurus ซึ่งเป็นโรงละครกลางแจ้งที่มีอายุมากกว่า 2,000 ปี จุคนได้กว่า 14,000 คน แล้วผู้ชมสามารถได้ยินเสียงนักแสดงและเครื่องดนตรีอย่างชัดเจนโดยไม่ต้องมีเครื่องขยายเสียง แม้แต่เสียงเหรียญตกพื้นยังสามารถได้ยินไปถึงแถวสุดท้ายของอัฒจันทร์ ถือได้ว่าเป็นเรื่องมหัศจรรย์จริง ๆ โดยนักวิทยาศาสตร์เพิ่งจะไขความลับของโรงละครนี้ได้เมื่อไม่นานมาเอง ซึ่งผู้เขียนขอนำความรู้ที่ได้มาเรียบเรียงให้ทุกคนได้อ่านกันครับ
ฟังใจได้รับเกียรติจาก Thailand Creative & Design Center (TCDC) ให้ได้เข้าร่วมเป็นวิทยากรในโครงการ Creative Space Workshop 2015 เราจึงได้นำงานสัมมนา เห็ดyoung ของเราไปจัดรวมกับงานของเขาในครั้งนี้ เมื่อวันเสาร์ที่ 5 กันยายน 2558 ที่ผ่านมา
คณิตศาสตร์นั้น ถือเป็นศาสตร์ที่อธิบายสิ่งต่างๆในธรรมชาติได้แทบทุกอย่าง เหมือนเป็นกุญแจไขความลับสู่จักรวาล แล้วก็สามารถอธิบายสิ่งต่าง ๆ ในดนตรีได้อีกด้วย เช่น ความถี่คลื่นเสียง และจังหวะดนตรี
เห็ดกูรูขอนำเสนอเรื่องราวของธุรกิจดนตรีตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันว่ามีที่มาที่ไปอย่างไร บอกให้รับรู้ให้เข้าใจ เพราะนี่คือ เห็ดกูรู กูรูตัวจริงเสียงจริงด้านดนตรี
งานสัมมนา เห็ดyoung ของฟังใจ เข้าสู่รั้วมหาวิทยาลัยแล้ว! โดยในครั้งที่สองนี้ เราไปกันที่ สาขาวิชาดนตรีสากล มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ในหัวข้อ "คุณภาพของเสียงแบบไฮเรโซลูชัน (High Resolution)"!