นักวิชาการอุตสาหกรรมดนตรี รักแมว รักโลก เคยทำงานเป็นนักวิชาการที่ปรึกษาด้านความยั่งยืนและการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศโลก (Sustainability & Climate Change) เคยมีวงอินดี้แต่ไม่ประสบความสำเร็จ และจากการที่ไปทำงานในบริษัทเกี่ยวกับดนตรีอินดี้ที่อเมริกา ก็เลยมีความคิดอยากมีส่วนช่วยพัฒนาวงการดนตรีไทยให้มีความแข็งแรงและยั่งยืนยิ่งขึ้น
ถ้าวงดนตรีไทยอยากทัวร์ไต้หวันให้ประสบความสำเร็จ (แบบไม่เจ็บกระเป๋าตังค์นัก) ต้องทำอย่างไรบ้าง
เกร็ดความรู้ก่อนจะส่งตัวเองไปทัวร์ญี่ปุ่น แชร์ประสบการณ์ เล่าเกร็ดเรื่องราววงการดนตรีประเทศต่างๆ ตอนที่ 1
ทีมที่เข้ารอบ 5 ทีม ได้เรียนรู้กับวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิในวงการดนตรี 5 ท่านอย่างใกล้ชิดในเวิร์กช็อป Krungsri Behind The Band Competition ครั้งที่ 1 ที่นอกจากให้ความสำคัญกับนักดนตรีแล้ว ก็ยังมองเห็นถึงความสำคัญของทีมงานเบื้องหลังอีกด้วย
หนทางการเป็นศิลปินไม่ใช่เรื่องยากแต่ต้องไปให้ถูกวิธี ฉบับนี้ขอทำหน้าที่แนะนำพื้นฐานให้กับหนุ่มสาวที่มีความฝันอยากเป็นศิลปินว่าจากจุดเริ่มต้นในยูทูปสู่การเป็นซุปเปอร์สตาร์มันต้องทำอย่างไรมีวิธีอย่างไรบ้าง ทุกอย่างไม่มีทางลัดแต่เห็ดกูรูช่วยแนะแนวคุณได้
ในโลกสังคมอุดมไปด้วยเรื่องของธุรกิจ รับรู้เรื่องราวความสัมพันธ์ระหว่างแบรนด์สินค้ากับศิลปินที่คุณชอบว่ามีที่มาที่ไปเป็นอย่างไรและทำไมสินค้าถึงต้องการศิลปินมาเป็นพรีเซ็นเตอร์เสนอสินค้าด้วย มารับรู้สาระน่ารู้นี้ไปพร้อม ๆ กันในเห็ดกูรู
สำหรับเห็ดกูรูตอนที่ 2 นี้ ขอนำเสนอพื้นที่ในรูปแบบที่เปิดโอกาสให้ศิลปินนักดนตรีได้แสดงออกถึงเอกลักษณ์ของบทเพลงให้กับผู้ฟังหมู่มาก นั่นก็คือเทศกาลดนตรี ที่เป็นเหมือนสปริงบอร์ดที่จะนำพาพวกเขาไปให้ชาวโลกได้รู้จัก
ในยุคของเหล่าเจ้าพ่อเซี่ยงไฮ้ ดนตรีแจ๊ซถูกตีตราว่าเป็นดนตรีของคนบาป เป็นดนตรีเคล้าเหล้า ยา และนารี จนถูกเรียกว่า "Yellow Music" ที่หมายถึงดนตรีลามกอนาจาร ซึ่งดนตรีแจ๊ซของเซี่ยงไฮ้เป็นการผสมผสานระหว่างดนตรีจีนและแจ๊ซผิวดำอย่างลงตัว จนกลายเป็นแนวใหม่ชื่อว่า "Sinified Jazz" ที่แปลได้ว่า "แจ๊ซที่ถูกทำให้บาป" หากอยากรู้ว่าแจ๊ซแนวนี้เป็นอย่างไร ลองเข้ามาอ่านดูกันเลยครับ
เมื่อไม่กี่วันมานี้ วงดนตรี groove-pop จากประเทศสิงคโปร์อย่าง Doves & Ravens ได้ปล่อยอัลบั้มเต็ม Wonder ออกมา เราก็ได้นำบทสัมภาษณ์สั้น ๆ ที่ได้คุยกับพวกเขามาฝากกัน
เรียนรู้เรื่องราวของเพลงภาษาต่างประเทศ ที่ไม่ใช่แค่ภาษาอังกฤษ เห็ดกูรูฉบับนี้จะนำเสนอในมุมมองที่น่าสนใจรวมทั้งแนะแนวทางในการ โกอินเตอร์มานำเสนอให้ท่านผู้อ่านได้รับทราบวิธีการโกอินเตอร์อีกด้วย
ในตอนที่ 2 นี้ เราอยากจะวิเคราะห์เจาะลึก ว่าการจัดตั้งสหภาพดนตรีสำหรับประเทศไทยนั้นมีความเป็นไปได้ และจะมีประโยชน์อย่างไรบ้าง
งานสัมมนา เห็ดyoung ของฟังใจ เข้าสู่รั้วมหาวิทยาลัยแล้ว! โดยในครั้งที่สองนี้ เราไปกันที่ สาขาวิชาดนตรีสากล มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ในหัวข้อ "คุณภาพของเสียงแบบไฮเรโซลูชัน (High Resolution)"!
งานสัมมนา เห็ดyoung ของฟังใจ เข้าสู่รั้วมหาวิทยาลัยแล้ว! โดยในครั้งแรกนี้ เราไปกันที่ วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในหัวข้อ "การระดมทุนมวลชน (Crowdfunding) สำหรับวงดนตรี"!
คัฟเวอร์เพลงอย่างไรให้ได้ผล ทำอย่างไรให้คนเข้ามาฟัง แล้วเล่นเพลงคนอื่นมันต้องมีเรื่องลิขสิทธิ์รึเปล่า ร่วมศึกษาหาข้อมูลไปกับเห็ดกูรู Part 2 ของเรื่องราวการคัฟเวอร์ได้เลย ณ บัดนี้
ตอนที่ 2 ของเห็ดกูรู นำเสนอเรื่องกลยุทธ์ที่จะช่วยทำให้การทำงานระหว่างศิลปินหรือวงดนตรี กับแบรนด์สินค้า ในฐานะ “สปอนเซอร์” และ พรีเซ็นเตอร์
สหภาพดนตรีคืออะไร ในเมืองไทยมีสหภาพดนตรีใดบ้าง ทำไมเรื่องนี้เป็นเรื่องที่นักดนตรีควรรู้ ทำความรู้จักไปพร้อมๆ กันกับคอลัมน์เห็ดกูรูในเดือนนี้กัน